วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจ


percent                                   =            ร้อยละ
percentage                            =             จำนวนร้อยละ
volume                                  =             จำนวน
perimeter                              =             เส้นรอบวง
straight line                       =            เส้นตรง
curve                                   =            เส้นโค้ง               
angle                                   =            มุม
right angle                        =            มุมขวา
radius                                 =            รัศมีวงกลม
diameter                            =            เส้นผ่าศูนย์กลาง
to multiply                        =            การคูณ
to divide                            =                        การหาร
equals                                 =            เท่ากับ 
อ่านเพิ่มเติม




วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

ฟังก์ชันขั้นบันได


ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของจำนวนจริง และมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได
ตัวอย่าง
อ่านเพิ่มเติม 


ฟังก์ชันกำลังสอง

ฟังก์ชันกำลังสอง
1. กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
           ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป  เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ a0ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c  และเมื่อค่าของ  a  เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำอ่านเพิ่มเติม 


การไม่เท่ากัน

บทนิยาม      a < b     หมายถึง    a น้อยกว่า
                  a > b     หมายถึง    a มากกว่า
สมบัติของการไม่เท่ากัน  
กำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ  
 1. สมบัติการถ่ายทอด     ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c    

2. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้าอ่านเพิ่มเติม



จำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
จากแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนข้างต้น จะพบว่า ระบบจำนวนจริง จะประกอบไปด้วยอ่านเพิ่มเติม




การให้เหตุผลแบบนิรนัย


การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนดอ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป
           การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง  เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล  หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่อ่านเพิ่มเติม